บทความวิชาการ
การล้างไตทางช่องท้อง: หลักพื้นฐานสำหรับเภสัชกร (Peritoneal Dialysis: A Basis for Pharmacist)
ชื่อบทความ การล้างไตทางช่องท้อง: หลักพื้นฐานสำหรับเภสัชกร (Peritoneal Dialysis: A Basis for Pharmacist)
ผู้เขียนบทความ ภก.ชิดตะวัน หิรัญสมบูรณ์, ผศ.ภญ.ศยามล สุขขา
สถาบันหลัก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รหัสกิจกรรม 1002-1-000-001-01-2566
ผู้ผลิตบทความ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การเผยแพร่บทความ เฉพาะสมาชิกผู้ผลิตบทความ  
วันที่ได้รับการรับรอง 19 ม.ค. 2566
วันที่หมดอายุ 18 ม.ค. 2567
หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 3 หน่วยกิต
บทคัดย่อ
การล้างไตทางช่องท้อง (peritoneal dialysis, PD) เป็นการบำบัดทดแทนไตรูปแบบหนึ่งในผู้ป่วยโรคไตระยะสุดท้าย นับตั้งแต่การเริ่มต้นนโยบายล้างไตทางช่องท้องเป็นทางเลือกแรก (PD first policy) ของประเทศไทย อัตราการเพิ่มขึ้นของการล้างไตทางช่องท้องเพิ่มสูงขึ้นอย่างมากในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา หลักการล้างไตทางช่องท้องทั้งวิธี continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD) หรือชนิดที่ใช้เครื่องมือช่วยในการเปลี่ยนเข้าออกของน้ำยาล้างไตเช่นวิธี automated peritoneal dialysis (APD) ล้วนอาศัยหลักการที่คล้ายคลึงกันในการกำจัดของเสียในเลือดผู้ป่วย ทั้งนี้มีประเด็นที่หลากหลายซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้ยาในผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้อง ได้แก่ กลไกการแลกเปลี่ยนสาร ความคงสภาพของยาหลังการผสมยาในน้ำยาล้างไต และเภสัชจลนศาสตร์ของยา ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ทางคลินิกที่แตกต่างไปจากผู้ป่วยทั่วไป
คำสำคัญ
การบำบัดทดแทนไต, การล้างไตทางช่องท้อง, เภสัชจลนศาสตร์, สรีรวิทยาการแลกเปลี่ยนสาร
วิธีสมัครสมาชิก


เมื่อสมัครสมาชิกเรียบร้อยแล้ว สามารถอ่านบทความแล้วทำแบบทดสอบ Online ได้ที่
https://pharmacy.mahidol.ac.th/dic/cpe