ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องฯ จะส่ง sms และ email แจ้งเตือนสมาชิกผู้ที่มีหน่วยกิตไม่ครบเกณฑ์ ครั้งต่อไปในวันที่ 11 กรกฎาคม 2568

บทความวิชาการ
Inhaled medication in COPD
ชื่อบทความ Inhaled medication in COPD
ผู้เขียนบทความ ภญ.ณิชกานต์ อภิรมย์รักษ์ รศ.สุณี เลิศสินอุดม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สถาบันหลัก สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย)
รหัสกิจกรรม 2002-1-000-003-03-2563
ผู้ผลิตบทความ สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย)
การเผยแพร่บทความ เฉพาะสมาชิกผู้ผลิตบทความ  
วันที่ได้รับการรับรอง 26 มี.ค. 2563
วันที่หมดอายุ 25 มี.ค. 2564
หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 2.5 หน่วยกิต
บทคัดย่อ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD (Chronic Obstructive Pulmonary Disease) เปนปญหาสําคัญทางสาธารณสุขของประเทศตางๆ ทั่วโลก โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้กลับมาเป็นปกติได้ (not fully reversible airway obstruction) ดังนั้นเป้าหมายที่สำคัญในการรักษา คือ การลดอาการในปัจจุบัน และปองกันผลเสียของการรักษาไมดีที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ได้แก่ การลดความเสี่ยงในการเกิดการกำเริบ (exacerbation), ชะลอการดำเนินไปของโรคและลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย ยาหลักที่ใช้ในการรักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คือ ยาสูดขยายหลอดลม (inhaled bronchodilators) ได้แก่ ยากลุ่ม beta2-agonist และ anticholinergics และยา anti-inflammatory ได้แก่ inhaled-corticosteroids (ICS) การใช้ยาในรูปแบบสูดจะเป็นการนำส่งยาไปสู่ปอดโดยตรง ทำให้ได้ผลการรักษาที่ดีและเกิดอาการไม่พึงประสงค์น้อย โดยเครื่องมือที่ใช้นำส่งยาสูดมีหลายรูปแบบและมีวิธีการใช้แตกต่างกัน ซึ่งต้องอาศัยการใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้องของผู้ป่วย เพื่อให้ยาในรูปแบบสูดมีประสิทธิภาพในการรักษาที่ดี
คำสำคัญ
Inhaled medication, Chronic obstructive pulmonary disease, Aerosol therapy