|
ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องฯ จะส่ง sms และ email แจ้งเตือนสมาชิกผู้ที่มีหน่วยกิตไม่ครบเกณฑ์ ครั้งต่อไปในวันที่ 11 กรกฎาคม 2568
การเลิกสุรา (Alcohol Cessation)
ชื่อบทความ |
 |
การเลิกสุรา (Alcohol Cessation) |
ผู้เขียนบทความ |
 |
รศ.ภญ.สุณี เลิศสินอุดม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น , ภก.ชินวัตร บัวมี |
สถาบันหลัก |
 |
มูลนิธิเภสัชกรรมชุมชน |
รหัสกิจกรรม |
 |
5004-1-000-001-07-2554 |
ผู้ผลิตบทความ |
 |
มูลนิธิเภสัชกรรมชุมชน |
การเผยแพร่บทความ |
 |
ผู้ประกอบวิชาชีพทุกคน |
วันที่ได้รับการรับรอง |
 |
01 ก.ค. 2564 |
วันที่หมดอายุ |
 |
30 มิ.ย. 2565 |
หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง |
 |
3 หน่วยกิต |
บทคัดย่อ
การเลิกสุรามีประโยชน์ต่อโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โรคเบาหวานและโรคอื่นๆอีกมากมาย การรักษาโดยไม่ใช้ยามี 3 วิธี ได้แก่ การให้คำแนะนำแบบสั้น(Brief advice), การให้ความช่วยเหลือแบบสั้น(Brief intervention) และ การให้คำปรึกษา(Counseling) สำหรับการรักษาด้วยยา จะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มยาที่ทำให้เลิกสุรา (Medication for alcohol cessation) ได้แก่ ยา Disulfiram, Acamprosate, Naltrexone และTopiramate 2.กลุ่มยาที่ช่วยบรรเทาภาวะถอนพิษสุรา (Medication for treatment alcohol withdrawal syndrome) ได้แก่ ยากลุ่ม Benzodiazepines, Beta blockers, Alpha-2 adrenergic receptor agonist, Haloperidol และBaclofen และ 3.กลุ่มยาที่ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการดื่มสุราเป็นเวลานาน ได้แก่ The cocktail ซึ่งเภสัชกรจำเป็นต้องมีความรู้และความเข้าใจในการนำมาใช้ในการเลิกสุรา และยาบรรเทาอาการต่างๆ ให้ได้ประโยชน์และมีความปลอดภัยสำหรับผู้ผู้ป่วยมากที่สุด
คำสำคัญ
การเลิกสุรา, ประโยชน์ของการเลิกสุรา, ยาที่ทำให้เลิกสุรา, ภาวะถอนพิษสุรา, การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากกา
|