ชื่อการประชุม |
|
How to implement a Cleaning Validation Lifecycle |
สถาบันหลัก |
|
สมาคมเภสัชกรอุตสาหการ (ประเทศไทย) |
รหัสกิจกรรม |
|
2004-2-000-003-03-2567 |
สถานที่จัดการประชุม |
|
โรงแรม แอมบาสซาเดอร์ ซอยสุขุมวิท 11 กรุงเทพฯ |
วันที่จัดการประชุม |
|
12 -13 มี.ค. 2567 |
ผู้จัดการประชุม |
|
สมาคมเภสัชกรอุตสาหการ (ประเทศไทย) |
กลุ่มเป้าหมาย |
|
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ผลิตและการบวนการผลิตยา และชีววัตถุ รวมถึงการจัดทำเอกสารเพื่อยืนยันความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation) |
หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง |
|
11.75 หน่วยกิต |
หลักการและเหตุผล
การตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation) ในการผลิตยาถือว่าเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญยิ่งต่อทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิตยา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับยาที่ปลอดภัยต่อการปนเปื้อนของสารที่ไม่พึงประสงค์ การตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation) จึงถูกจัดอยู่ในข้อกำหนดตามมาตรฐาน Good Manufacturing Practice (GMP) ทั้งในประเทศไทยและระดับสากล
ปัจจุบันการตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation) ได้มีการนำหลักการ Life Cycle และ Risk & Science Based Approach มาใช้ โดยมุ่งเน้นไปที่ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการปนเปื้อนข้าม (Cross Contamination) ทั้งในส่วนของสารตกค้างของผลิตภัณฑ์ สารทำความสะอาด และเชื้อจุลินทรีย์
ในงานประชุมวิชาการครั้งนี้ผู้เข้าประชุมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ Life Cycle Approach และ Risk & Science Based Approach และการนำมาใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation) การออกแบบวิธีการทำความสะอาด (Clean by Design) การเลือกใช้สารทำความสะอาด การกำหนด Critical Process Parameter (CPP) ในกระบวนการทำความสะอาด การกำหนดระดับของสารปนเปื้อนที่ยอมรับได้ (Acceptance Criteria) รวมถึงกระบวนการสุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง การจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง (Cleaning Validation Documents)
วัตถุประสงค์
• ข้อกำหนดและแนวทางการตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation)
• Risk & Science Based Approach ในการตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation)
• การเลือกวิธีการทดสอบ (Analytical Test Method) ในการตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation)
• การกำหนดค่าปริมาณการยอมรับของสารตกค้าง (HBELs, Toxicity)
• การแนวทางการแก้ไขการตรวจประเมินดดยหน่วยการกำกับดูแลที่เกี่ยวข้องกับตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation)
• การออกแบบกระบวนการทำความสะอาด (Clean by Design) โดยเฉพาะแบบล้างในที่ (Clean In Place - CIP) และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทำความสะอาดได้อย่างเหมาะสม
• การกำหนด Critical Process Parameter (CPP) ในกระบวนการทำความสะอาด
• การสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม
• การอออกแบบ และวางแผนการตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation) รวมถึงการจัดทำเอกสาร Cleaning Validation Master Plan
• การรักษาสถานะการตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation) รวมถึงการตรวจติดตาม
• วิธีการในการจัดทำเอกสารที่ดีในการตรวจสอบความถูกต้องของการทำความสะอาด (Cleaning Validation)
คำสำคัญ
Cleaning Validation, Critical Process Parameter, Clean by Design
วิธีสมัครการประชุม
ค่าลงทะเบียน
สมาชิก ISPE / TIPA คนละ 2,500 บาท
ไม่ใช่สมาชิก คนละ 4,000 บาท
วิธีการลงทะเบียน (HOW TO REGISTER)
1. Online Registration Browse website http://ispeth.org/event/ISPEThailandEvent1-2024, fill-in delegate details and click submit
2. Confirmation ISPE staff will confirm your registration status via email.
If not receive email within 2 working days after submitted the form, please contact our staff.
3. Payment Make a payment to reserve your seats and capture/ scan transferred evident i.e. payslip to email REGISTER@ISPETH.ORG
REGISTRATION CLOSES ON 10 MARCH 2024 OR WHEN ALL SEATS ARE FULLY RESERVED.
FIND OUT MORE INFO & CONTACT US: WWW.ISPETH.ORG
EMAIL: REGISTER@ISPETH.ORG T: +6688-090-4664
วิธีการชำระเงิน (PAYMENT METHOD)
Payment must be received prior to the event otherwise the reservation
will be cancelled. All payments should be made in Thai Baht.
BANK > KASIKORN BANK, LAD PRAO 67 BRANCH
ACCOUNT > ISPE FOUNDATION
NUMBER > 027-8-46566-7
SWIFT CODE > KASITHBK
BANK ADDRESS > 2347 LADPRAO 67, WANGTHONGLANG,
BANGKOK, THAILAND 10310