ชื่อบทความ |
 |
ทักษะการสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจในเพศหลากหลาย ภาพรวมประเทศไทย |
ผู้เขียนบทความ |
 |
คุณฟาริดา ลังกาฟ้า |
สถาบันหลัก |
 |
สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) |
รหัสกิจกรรม |
 |
2002-1-000-007-04-2566 |
ผู้ผลิตบทความ |
 |
สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) |
การเผยแพร่บทความ |
 |
เฉพาะสมาชิกผู้ผลิตบทความ |
วันที่ได้รับการรับรอง |
 |
03 เม.ย. 2566 |
วันที่หมดอายุ |
 |
02 เม.ย. 2567 |
หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง |
 |
0.5 หน่วยกิต |
บทคัดย่อ
ประเทศไทยทั้งหมดอยู่ประมาณ 313,747 คน สำหรับชายข้ามเพศในประเทศไทยยังไม่มีข้อมูลที่ชัด และงานวิจัยที่เกี่ยวกับชายข้ามเพศยังมีข้อจำกัดเช่นกัน อย่างไรก็ตามเนื่องจากประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายรับรองเพศสภาพในประเทศไทย ทำให้ประชากรข้ามเพศต้องประสบปัญหาการถูกตีตรา และการเลือกปฏิบัติ โดยเกือบครึ่งของประชากรกลุ่มนี้มีประสบการณ์การถูกเลือกปฏิบัติจากบุคคลากรทางการแพทย์ ทำให้ผู้มารับบริการที่เป็นบุคคลข้ามเพศเกิดความรู้สึกอึดอัด เป็นกังวลในการมารับบริการร้านยาเป็นหน่วยให้บริการทางสาธารณสุข ที่ให้คำแนะนำ เฝ้าระวังปัญหาการใช้ยา และจากความร่วมมือระหว่างสมาคมเภสัชกรรม(ประเทศไทย) และสำนักอนามัย
ในการดำเนินโนครงการร้านยาบริการสุขภาพเพศหลากหลาย โดยจัดให้มีบริการให้คำปรึกษาการใช้ฮอร์โมนในเพศหลากหลาย การส่งต่อกรณีพบอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ฮอร์โมนในกลุ่มผู้มารับบริการข้ามเพศ ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมทักษะการให้บริการของเภสัชกรชุมชน ให้มีการให้บริการที่ดีมีความเป็นมิตรกับผู้มารับบริการ และเตรียมความพร้อมร้านยาสู่การเป็นร้านยาที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ที่เป็นสังคมแห่งความหลากหลายทางเพศ
ในการนี้สมาคมเภสัชกรรมชุมชน(ประเทศไทย) และสำนักอนามัยได้จัดการทำสื่อการเรียนรู้ โดยเป็นการ ยนำกรณีศึกษาสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นจริงในร้านยา มานำเสนอ เพื่อให้เภสัชกรชุมชนที่ปฏิบัติงานในร้านยาได้เกิดประสบการณ์ในการจัดการผู้มารับบริการ และสามารถให้บริการได้อย่างเท่าเทียม
คำสำคัญ
ข้ามเพศ,เพศหลากหลาย, การให้คำปรึกษา,เภสัชกรชุมชน
วิธีสมัครสมาชิก
สมัครออนไลน์ www.pharcpa.com
และ เข้าเรียนรู้ทบทวนเนื้อหาที่
https://healthacademy.in.th/cpa