ประชุมวิชาการ ฎก้าวสู่ทศวรรษที่ 5 ระบบยาประเทศไทย" ภายใต้แนวคิด : "Briding Health and Wealth : The Strategic Impact of Drug System" ระบบน่ที่มีประสิทธิภาพเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสุขภาพและสร้างเศรษฐกิจให้กับประเทศ
ชื่อการประชุม |
 |
ประชุมวิชาการ ฎก้าวสู่ทศวรรษที่ 5 ระบบยาประเทศไทย" ภายใต้แนวคิด : "Briding Health and Wealth : The Strategic Impact of Drug System" ระบบน่ที่มีประสิทธิภาพเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสุขภาพและสร้างเศรษฐกิจให้กับประเทศ |
สถาบันหลัก |
 |
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา |
รหัสกิจกรรม |
 |
3001-2-000-018-04-2568 |
สถานที่จัดการประชุม |
 |
โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ สไตลิช คอนเวนชั่น จ.นนทบุรี |
วันที่จัดการประชุม |
 |
02 -03 เม.ย. 2568 |
ผู้จัดการประชุม |
 |
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา |
กลุ่มเป้าหมาย |
 |
ภาคีเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนระบบยา ประมาณ 500 คน |
หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง |
 |
9.25 หน่วยกิต |
หลักการและเหตุผล
องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แนะน าให้ประเทศสมาชิกจัดท านโยบายแห่งชาติด้านยา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดหายาจ าเป็นที่มีคุณภาพให้แก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึงในราคาย่อมเยา และมีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ส าหรับ
ประเทศไทยมีการจัดท านโยบายแห่งชาติด้านยามาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 เป็นต้นมา และรัฐบาลได้ให้ความส าคัญกับการพัฒนาระบบยา จึงออกระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ก าหนดให้คณะกรรมการมีอ านาจหน้าที่จัดท านโยบายแห่งชาติด้านยาและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ ทั้งนี้ ปัจจุบันคณะกรรมการได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติเพื่อด าเนินการตามหน้าที่ดังกล่าว โดยมีกองนโยบายแห่งชาติด้านยาเป็นฝ่ายเลขานุการของคณะอนุกรรมการคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ได้จัดท าแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบยาของประเทศไทย (พ.ศ. 2566-2570) มีวิสัยทัศน์ "ระบบยาที่มั่นคง บนพื้นฐานของการวิจัยและพัฒนายา ประชาชนเข้าถึงยาคุณภาพอย่างทั่วถึงและปลอดภัย" มีเป้าประสงค์ 4 ข้อ คือ 1) ประเทศมีความมั่นคงต้านยา มียาจ าเป็นไว้ใช้อย่างต่อเนื่องและทันท่วงที มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่ส าคัญ ทั้งในภาวะปกติและฉุกเฉิน 2) อุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับสากล 3) ประชาชนมีความปลอดภัยเมื่อใช้ยา และมีผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดี และ 4) ระบบบยามีการจัดการบนพื้นฐานของสารสนเทศอย่างมีธรรมาภิบาลโดยขับเคลื่อนผ่าน 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) ส่งเสริมอุตสาหกรรมยาโดยร่วมวิจัยและพัฒนานวัตกรรมให้เกิดความมั่นคงด้านสุขภาพ 2) พัฒนากลไกการเข้าถึงยาถ้วนหน้า ราคายาที่สมเหตุผล ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน 3) พัฒนากลไกสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และ 4) การจัดการสารสนเทศเพื่อจัดการระบบยา มีกลไกการก ากับติดตามการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ผ่านคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 8 คณะการประเมินผลนโยบายแห่งชาติด้านยาและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2563-2565 ที่ผ่านมา โดยสรุปจากการประเมินพบว่านโยบายแห่งชาติด้านยาและแผนยุทธศาสตร์ ปี 2563-2565 นั้นมีการดำเนินในระดับ“ฐานปฏิบัติ” ซึ่งมีจุดอ่อนในด้านกระบวนการ (Process: P) และด้านผลผลิต (Product: P) ความส าเร็จในมุมมองด้านการจัดการ(Management) อยู่ในระดับต่ ากว่าค่าเฉลี่ยใน Level P2: Deployment และ ความสำเร็จในมุ ม ม องด้ าน ผ ล ลั พ ธ์ (Results) อ ยู่ใน ร ะดับ ต่ าก ว่ าค่ าเฉ ลี่ ย อ ย่ างม ากใน ร ะ ดับ Level R1 : Key ดังนั้ ในการดำเนินการนโยบายแห่งชาติด้านยาและแผนยุทธศาสตร์ต่อไป มีความจ าเป็นที่ต้องปรับปรุงการดำเนินการ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการเป็นศูนย์กลางของการประสานความร่วมมือและบูรณาการใน การบรรลุเป้าประสงค์และภารกิจของนโยบายแห่งชาติด้านยาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีบทบาทเป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ คณะอนุกรรมการ และคณะท างานภายใต้คณะกรรมการ ได้รับมอบหมายให้ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าว อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งต้องมีการศึกษา และจัดท าข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนอย่างบูรณาการ รวมทั้ง จ าเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ที่ต้องบูรณาการด าเนินการในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น เพื่อเป็นการประมวลข้อมูลผลลัพธ์การถอดบทเรียนการด าเนินงานที่ผ่านมา และให้หน่วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการ น านโยบายฉบับปัจจุบันไปสู่การปฏิบัติ จึงเสนอให้มีการจัดงานประชุมวิชาการ “ก้าวสู่ทศวรรษที่ 5 ระบบยาประเทศ ไทย”
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบยาของประเทศไทย (พ.ศ. 2566-70) ร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (อนาคต)
2. เพื่อประมวลข้อมูลผลลัพธ์นวัตกรรมและเครือข่ายการขับเคลื่อนนโยบายแห่งชาติด้านยาที่ทำให้เกิดการพัฒนาระบบยาของประเทศไทย (อดีต)
คำสำคัญ
ก้าวสู่ทศวรรษที่ 5 ระบบยาประเทศไทย