การประชุมวิชาการ
การประชุมวิชาการครั้งที่ 3/2559 ADR Network@Surat Thani
ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการครั้งที่ 3/2559 ADR Network@Surat Thani
สถาบันหลัก สำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
รหัสกิจกรรม 1016-2-000-006-08-2559
สถานที่จัดการประชุม ห้องประชุมชั้น 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี
วันที่จัดการประชุม 28 ส.ค. 2559
ผู้จัดการประชุม ชมรมเภสัชกรชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
กลุ่มเป้าหมาย เภสัชกรชุนชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เภสัชกรจากสำนักงานสาธารณสุชจังหวัดสุราษฎร์ธานี เภสัชกรจากโรงพยาบาลในจังหวัสุราษฎร์ธานี
หน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 3.5 หน่วยกิต
หลักการและเหตุผล
เภสัชกรชุมชนที่ปฏิบัติการในร้ านยาถือได้ว่า เป็ นบุคคลที่มีความส าคัญมากส าหรับ
ประชาชนในชุมชนนั ้นๆเนื่องจาก เภสัชกรสามารถดูแลปัญหาด้านยาให้กับผู้ป่ วยในชุมชน ไม่เพียง
แค่การจ่ายยาและให้ค าแนะน าเท่านั ้น แต่เรื่องส าคัญมากเรื่องหนึ่งคือ การค้นหาและป้ องกันการแพ้
ยาและผลข้างเคียงจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Advers Drugs Reaction , ADR) ปัญหา
สำหรับการทำงานของเภสัชกรชุมชนที่สำคัญคือ การประสานงานกับหน่วยบริการสาธารณะสุขอื่น ๆ
ที่ผู้ป่วยไปใช้บริการ เช่น โรงพยาบาลต่าง ๆ ร้านยาอื่น ๆ คลินิก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ผู้ป่วยมี
อาการสงสัยเรื่องการแพ้ยา แต่ยังมีข้อมูลไม่มากพอที่จะระบุตัวยาที่แพ้ได้รวมไปถึงการออกบัตรแพ้
ยา ดังนั ้นหากมีการสร้างระบบการจัดการที่ดีที่เป็นมาตรฐานเดียวกันระหว่างเภสัชกรชุมชนและ
หน่วยงานต่าง ๆ ก็จะสามารถส่งผ่านข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็ว โดยข้อมูลไม่มีการสูญหายไปยัง
หน่วยบริการอื่น ๆ ซึ่งจะเป็ นการสร้างความปลอดภัยให้กับผู้ป่ วยรวมถึงท าให้ผู้ให้บริการมีความ
มั่นใจและสามารถใช้ยากับผู้ป่ วยได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย การพัฒนาระบบ ADR ให้เป็ นไปใน
ทิศทางเดียวกันนั ้นจะเป็ นโครงการน าร่องส าคัญที่จะพัฒนาระบบ ADR ของจังหวัดสุราษฎร์ธานีให้มี
ประสิทธิภาพต่อไปในอนาคต นอกจากนี ้การจัดอบรมครั ้งนี ้จะเป็ นการสร้ างมาตรฐานร้านยาด้าน
ADR ให้ถูกต้องตามระบบ GPP ของร้านยาอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้กับเภสัชกรด้าน ADR และการประเมิน ADR
2.เพื่อสร้างระบบนำร่องในการประสานงานระหว่างเภสัชกรชุมชนที่ประจำในร้านยากับบุคลากรทางการแพทย์
คำสำคัญ
Adverse Drug Reaction, ADR, ระบบนำร่องในการประสานงาน